- บริษัท โฮคุโตะ ยันม่าร์ จำกัด และ บริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล อีควิปเมนท์ เซลล์ จำกัด ควบรวมกิจการเป็น บริษัท ยันม่าร์ อกริ เจแปน จำกัด
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ ซิมไบโอซิส จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
- เปิดอาคารยันม่าร์ ไฟล์อิง-วาย ซึ่งเป็นอาคารสำนักงานใหญ่แห่งใหม่ในโอซากา
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์รัสเซีย จำกัด ในประเทศรัสเซีย
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล แมชชีนเนอรี เวียดนาม จำกัด
- ก่อตั้งสถาบันยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล รีเซิร์ซ ในประเทศอินโดนีเซีย
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ โคโรแมนเดล อกริโซลูชัน จำกัด ในประเทศอินเดีย
- พิพิธภัณฑ์ยันม่าร์ ได้รับรางวัลการก่อสร้างอาคารเพื่อสังคม (BCS) จากสมาพันธ์ผู้รับเหมาก่อสร้างแห่งประเทศญี่ปุ่น
- ได้รับสิทธิ์ในการตั้งชื่อสนามกีฬา นากาอิ เมืองโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น
ประวัติของ YANMAR
ประวัติ
2021
- Crawler Carrier celebrates 50th Anniversary
- Yanmar Synergy Square won New Office Promotion Award at the 34th Nikkei New Office Awards
- X47 Express Cruiser won Good Design Award 2021
2020
- Yanmar Marine International Asia Co., Ltd. established under the umbrella of Yanmar Marine International
- Opened Yanmar Synergy Square, a global CS base
- YANMAR Energy System Canada Inc. is established in Ontario, Canada
2019
- Production of vertical water-cooled engines reached 10 million units
- Yanmar Energy System Europe GmbH established in Mahr, Germany
- Yanmar Museum reopened after renovation
2018
- Yanmar Museum marked 500,000th Visitor
- Launched Robot Tractor equipped with autonomous driving technology
2017
- Yanmar Turkey Makine A.S. established in Izmir, Turkey
พ.ศ. 2559
- ถ้อยแถลงวิสัยทัศน์ใหม่ ประกาศแนวคิด "A SUSTAINABLE FUTURE"
- Bio Innovation Center Kurashiki Laboratory, a research base for botanical study, is established
- Tractor YT3 Series and Yanmar Museum Receive Good Design Award 2016
พ.ศ. 2558
- ก่อตั้งบริษัทยันม่าร์ ฟิลิปปินส์ ในประเทศฟิลิปปินส์
- เปิดศูนย์ให้ความช่วยเหลือจากทางไกลของยันม่าร์ (Remote Support Center) ในประเทศญี่ปุ่น
- บริษัท ยันม่าร์ จำกัด ได้เข้าถือหุ้นใหญ่ในบริษัท HIMOINSA ประเทศสเปน ซึ่งเป็นบริษัทข้ามชาติที่มีความเชี่ยวชาญด้านซีลและเป็นผู้ผลิตระบบพลังงาน
- เปิดตัวรถแทรกเตอร์ YT ซีรีย์
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ โบท แมนูแฟคเจอริ่ง เวียดนาม ในประเทศเวียดนาม
พ.ศ. 2557


พ.ศ. 2556


- ทาดาโอะ ยามาโอกะ ประธานกรรมการเกียติคุณแห่งยันม่าร์ ถึงแก่กรรม
- ก่อตั้งบริษัท ยันมาร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด
- แนะนำเครื่องหมายแบรนด์ใหม่ ไฟล์อิง-วาย (FLYING-Y)
- เปิดสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นานาชาติ บริษัท ยันม่าร์ จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
- เปิดพิพิธภัณฑ์ยันม่าร์ ในประเทศญี่ปุ่น
- บริษัท เซเรอิ อินดัสทรี จำกัด ควบรวมกิจการกับ บริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล แมชชีนเนอรี แมนูแฟคเจอริง จำกัด
- THE REPRESENTATIVE OFFICE OF YANMAR CO., LTD. IN CAN THO CITY established in Vietnam
- เริ่มทำการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลแนวตั้ง ที่ใช้น้ำหล่อเย็น ที่บริษัท ยันม่าร์ เอ็นจิน (ซานตง) จำกัด
- เริ่มทำการผลิตชิ้นส่วนข้อเหวี่ยง ที่บริษัท ยันม่าร์ อินโดนีเซีย จำกัด
- เริ่มให้บริการ "สมาร์ทแอสซิส" ระหว่างเครื่องจักรและเครื่องจักร (M2M)
- กลายเป็นผู้ผลิตรายแรกของโลกที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมสวิตเซอร์แลนด์ (FOEN) สำหรับเครื่องยนต์ในระดับ 19-37 กิโลวัตต์
พ.ศ. 2555
- ครบรอบ 100 ปีของการก่อตั้งบริษัท
- เปิดเผยถ้อยแถลงวิสัยทัศน์ใหม่
- เครื่องยนต์รุ่น HB ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ดีเซลเชิงพาณิชย์ขนาดเล็กเครื่องแรกของโลกที่สามารถให้งานได้ ซึ่งยันม่าร์พัฒนาขึ้นในปี 2476 ได้รับการขึ้นทะเบียนให้เป็นหนึ่งใน "เครื่องจักรที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ของประเทศญี่ปุ่น โดยพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์แห่งชาติ กรุงโตเกียว
- เป็นผู้ผลิตรายแรกของโลกที่ได้รับมาตรฐานระดับ 4 สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลแนวตั้งระบายความร้อนด้วยน้ำ จากคณะกรรมการทรัพยากรอากาศแคลิฟอร์เนีย (CARB)
- บริษัท ยันม่าร์ ลอจิสติก เซอร์วิส จำกัด ได้รับรางวัลด้านการขนส่งประหยัดพลังงาน โดยสมาคมพันธมิตรด้านการขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. 2554
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อินโดนีเซีย จำกัด
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อินเดีย จำกัด
- ก่อตั้งบริษํท ยันม่าร์ อาร์แอนดี ยุโรป จำกัด ในประเทศอิตาลี
- เริ่มการผลิตรถแทรกเตอร์ ที่บริษัท ยันม่าร์ เอส.พี. จำกัด ในประเทศไทย
- ศูนย์วิจัยและพัฒนาไมบาระ ได้รับรางวัลออกแบบยอดเยี่ยม โดยสถาบันส่งเสริมการออกแบบแห่งประเทศญี่ปุ่น
- สถานประกอบการได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่บริเวณภาคตะวันออกของประเทศญี่ปุ่น และมีการฟื้นฟูความเสียหาย
พ.ศ. 2553
- บริษัท อัมมานน์-ยันม่าร์ จำกัด เปลี่ยนสถานะเป็นบริษัทในเครือ บริษัทยันม่าร์ คอนสตรัคชัน อิควิปเมนท์ จำกัด และใช้ชื่อ บริษัท ยันม่าร์ คอนสตรัคชัน อิควิปเมนท์ ยุโรป จำกัด
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล อินโนเวชัน จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2552
- ก่อตั้งสำนักงานตัวแทนของบริษัท ยันม่าร์ จำกัด ในประเทศสหราชอาณาจักร
- บริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล อิควิปเมนท์ ควบรวมกิจการเข้ากับ บริษัท ยันม่าร์ จำกัด
พ.ศ. 2551

- ก่อตั้ง บริษัท ยันม่าร์ ลอจิสติก เซอร์วิส จำกัด ศูนย์โกเบ ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2550

- ก่อตั้งสำนักงานตัวแทนของบริษัท ยันม่าร์ จำกัด ในกรุงมอสโคว์
- ก่อตั้งบริษัทศูนย์วิจัยและพัฒนา ยันม่าร์ โกตา กินาบาลู จำกัด ในประเทศมาเลเซีย
- เครื่องยนต์รุ่น HB ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ดีเซลแนวนอน ที่หล่อเย็นด้วยน้ำ ได้รับการประกาศเป็นมรดกทางวิศวกรรมเครื่องกลโดยสมาคมวิศวกรเครื่องกลแห่งประเทศญี่ปุ่น (JSME)
พ.ศ. 2549

- ก่อตั้งบริษัท ซี ยู ที ซัพพลาย จำกัด ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการ่วมทุนกับเอ็มทีดี
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ เซาท์ อเมริกา อินดัสเทรีย เดอ มาควินญา จำกัด ในประเทศบราซิล
- เปิดตัวรถแทรกเตอร์ซีรีส์ EG 700 เป็นครั้งแรกในญี่ปุ่นที่ติดตั้งระบบส่งกำลังทางกลศาสตร์แบบแปรผันต่อเนื่องของ HMT
พ.ศ. 2548

- ก่อตั้งสำนักงานตัวแทนของบริษัท ยันม่าร์ จำกัด ในประเทศอินเดีย
- เผยแพร่เครื่องหมายการค้าและถ้อยแถลงพันธกิจฉบับใหม่
- ได้รับรางวัลสำหรับระบบขับดันไฟฟ้าโดยสถาบันวิศวกรรมเรือเดินสมุทรญี่ปุ่น (JIME)
พ.ศ. 2547
- บริษัท ยันม่าร์ (สหรัฐอเมริกา) จำกัด ควบรวมกิจการเข้ากับบริษัท ยันม่าร์ ดีเซล อเมริกา จำกัด ยันม่าร์ อเมริกา คอร์ปอเรชัน จำกัด
- ก่อตั้งบริษัทยันม่าร์ คอนสตรัลชัน อิควิปเมนท์ จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2546
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ เอ็นจิน (เซี่ยงไฮ้) จำกัด และบริษัท ซานตง จี้เฟิง ยันม่าร์ เอ็นจิน จำกัด ในประเทศจีน
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์เอ็นเนอร์จี ซิสเต็ม จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2545

- ใช้ชื่อบริษัท ยันม่าร์ จำกัด
- เปิดตัวเครื่องยนต์ดีเซลความเร็วปานกลางสำหรับเรือเดินสมุทร รุ่น EY26L
พ.ศ. 2544
- ก่อตั้งบริษัท วายเคที เกียร์ อินโดนีเซีย จำกัด
- ก่อตั้งบริษัท ทรานแซกเซิล แมนูแฟคเจอริง ออฟ อเมริกา คอร์ปอเรชัน
พ.ศ. 2543


- ก่อตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาที่เมืองไมบาระ ประเทศญี่ปุ่น
- ได้รับรางวัลสำหรับระบบโคเจเนอเรชัน โดยใช้ก๊าซ ขนาดเล็ก รุ่น YCP9800 โดยสมาพันธ์เครื่องจักรแห่งญี่ปุ่น (JMF)
- ศูนย์อนุรักษ์พลังงานประเทศญี่ปุ่น (ECCJ) และสมาพันธ์ก๊าซแห่งประเทศญี่ปุ่น (JGA)
พ.ศ. 2542

- เปิดโรงงานยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล อิควิปเมนท์ (ประเทศจีน) จำกัด
- ตู้คอนเทนเนอร์เย็นได้รับรางวัลจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น (EA)
พ.ศ. 2541

- ทาเคฮิโตะ ยามาโอกะ ดำรงตำแหน่งประธาน
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ แมนูแฟคเจอริง อเมริกา คอร์ปอเรชัน
- ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 สำหรับโรงงานผลิตเครื่องยนต์ขนาดเล็กทั้งหมดในประเทศญี่ปุ่น จากองค์กรควบคุมคุณภาพญี่ปุ่น (JQA)
- เป็นองค์กรแรกที่ได้รับหนังสือรับรอง NOx สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้กับเรือเดินสมุทร โดยองค์กรการเดินทะเลสากล (IMO)
พ.ศ. 2539

- เปิดตัวเครื่องยนต์เรือเดินสมุทรรุ่น 6N18 และ 6N21
- ได้รับรางวัลสำหรับรถแทรกเตอร์รุ่นอีโคทรา (Eco Tra)
พ.ศ. 2538

- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ คากิวา จำกัด (ปัจจุบันคือ บริษัท ยันม่าร์ อิตาลี จำกัด) โดยการร่วมทุนกับคากิวา
- ปิดโรงงานที่บิวะ ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2537

- เปิดตัวเครื่องขุดเจาะรุ่น ViO
- ได้รับใบรับรองสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลแนวตั้ง ที่หล่อเย็นด้วยน้ำจากคณะกรรมการทรัพยากรอากาศแคริฟอร์เนีย (CARB)
พ.ศ. 2536


- ก่อตั้งบริษัท โอซากา ฟุตบอล คลับ จำกัด และทีมฟุตบอล เซเรโซ โอซากา
- เป็นองค์กรแรกที่ได้รับหนังสือรับรองการปล่อยมลพิษจากคณะกรรมการสากล เลค คอนสแตนซ์ สวิตเซอร์แลนด์
พ.ศ. 2535


- ผลิตเครื่องยนต์ดีเซลเครื่องที่ 10 ล้าน
- โรงงานอามากะซากิ ได้รับรองมาตรฐาน ISO9001 โดยบริษัท ลอยด์ รีจิสเตอร์ ควอลิตี แอสชัวรันส์ จำกัด (LRQA)
- ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 สำหรับเครื่องยนต์ขนาดเล็ก โดยสถาบันมาตรฐษนอังกฤษ (BSI) และองค์กรควบคุมคุณภาพ (JQA)
พ.ศ. 2533

- ได้รับรางวัลสำหรับชุดเครื่องยนต์เรือรุ่น D โดย สมาพันธ์เครื่องจักรแห่งญี่ปุ่น (JMF)
พ.ศ. 2532


- ก่อตั้งบริษัท อัมมานน์-ยันม่าร์ จำกัด ขึ้นในฝรั่งเศส โดยการร่วมทุนกับกลุ่มอัมมานน์
- ก่อตั้งบริษัท ทัฟฟ์ ทอร์ก คอร์ปอเรชัน ในประเทศสหรัฐอเมริกา
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ เอเชีย (สิงคโปร์) จำกัด
พ.ศ. 2531

- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ ยุโรป จำกัด และ บริษัท ยันม่าร์ อินเตอร์เนชันแนล ยุโรป จำกัด ในประเทศเนเธอร์แลนด์
- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ เอส.พี จำกัด ในประเทศไทย
- ก่อตั้ง ยันม่าร์ มารีน ฟาร์ม ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2530
- เปิดตัวระบบปรับอากาศที่ใช้ปั๊มความร้อนด้วยแก๊ส
- ได้รับรางวัลเครื่องยนต์ดีเซลหล่อเย็นด้วยอากาศ รุ่น Lโดยสมาพันธ์เครื่องจักรแห่งญี่ปุ่น (JMF)
พ.ศ. 2527

- เปิดตัวชุดเครื่องยนต์ดีเซลแนวตั้ง ที่ใช้น้ำหล่อเย็นรุ่นTN
- เริ่มดำเนินการระบบโคเจเนอเรชั่น 6RL-HT สามระบบ ที่สถานีโชวะ แอนตาร์คติกา
พ.ศ. 2526

- เปิดตัวเครื่องยนต์ดีเซลระบายความร้อนด้วยอากาศขนาดเล็กมาก (3.5 แรงม้า) รุ่น L35
- ได้รับรางวัลสำหรับเครื่องยนต์ขับเคลื่อนทางทะเล 3L15 โดยสมาพันธ์เครื่องจักรแห่งญี่ปุ่น (JMF)
พ.ศ. 2524

- ผลิตเครื่องยนต์ดีเซลแนวนอน ระบายความร้อนด้วยน้ำ 5 ล้านเครื่อง
พ.ศ. 2523

- เปิดตัวเครื่องยนต์ที่ใหญ่ที่สุดของยันม่าร์ (5,000 แรงม้า) รุ่น16ZL
- เปิดตัวโมเดลเรือสำราญ FZ22
พ.ศ. 2521

- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ ประเทศไทย จำกัด
พ.ศ. 2520

- ก่อตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น
- ทำสัญญาการส่งออกรถแทรกเตอร์ร่วมกับบริษัท จอห์น เดียร์ ซึ่งตั้งอยู่ในสหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2518

- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อกริคัลเจอรัล แมชชีนเนอรี แมนูแฟคเจอริง อินโดนีเซีย
พ.ศ. 2515


- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ อินโดนีเซีย จำกัด
- เปิดตัวเครื่องยนต์เรือแบบหมุนรอบรุ่น RM28
พ.ศ. 2514

- เปิดตัวเครื่องขุดเจาะขนาดเล็กรุ่น YB600
พ.ศ. 2513
- ก่อตั้งบริษัท โคกะ พรีไซส์ ฟาวน์ดรี จำกัด ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2511

- ได้รับรางวัลเดมมิง (Deming)
พ.ศ. 2510

- เปิดโรงงานคิโนะโมโตะที่ประเทศญี่ปุ่น เริ่มทำการผลิตรถแทรกเตอร์รุ่น YM273 (23 แรงม้า)
พ.ศ. 2509
- เปิดตัวเครื่องพรวนดินดีเซลรุ่น YC และ YS
พ.ศ. 2506

- ทาดาโอะ ยามาโอกะ เข้ารับตำแหน่งประธาน
พ.ศ. 2505

- ยาสึฮิโตะ ยามาโอกะ เข้ารับตำแหน่งประธาน
พ.ศ. 2504

- เปิดสำนักงานใหญ่ที่โอซาก้า
พ.ศ. 2503
- เปิดโรงงานที่อาโอโมริ ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2502

- เปิดตัว Yanboh & Marboh สัญญาลักษณ์ของรายการพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น
พ.ศ. 2500


- ก่อตั้งบริษัท ยันม่าร์ ดีเซล บราซิล จำกัด ในประเทศบราซิล
- ได้รับเครื่องอิสยาภรณ์เยอรมัน เมอริต ครอส จากการบริจาคสวนหินญี่ปุ่นเพื่อรำลึกถึง ดร.รูดอล์ฟ ดีเซล ให้เมืองเอาก์สบวร์ก
พ.ศ. 2498

- ได้รับรางวัลเหรียญทองดีเซล โดยสมาคมนักประดิษฐ์เยอรมัน
พ.ศ. 2495

- ใช้ชื่อบริษัท ยันม่าร์ ดีเซล จำกัด
- เปิดตัวเครื่องยนต์รุ่น K1ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ดีเซลแนวนอน 4 จังหวะ ระบายความร้อนด้วยน้ำ เครื่องแรกของโลก (1.5-2 แรงม้า)
- เปิดตัวรุ่นเครื่องยนต์เสริม 4MSL ความเร็วปานกลาง (120-130 แรงม้า)
พ.ศ. 2494
- มาโกกิชิ ยามาโอกะ ผู้ก่อตั้งบริษัท ได้รับรางวัลริบบินสีน้ำเงิน จากรัฐบาลญี่ปุ่น
พ.ศ. 2492

- เปิดโรงงานนากาฮาระ ในประเทศญี่ปุ่น และเริ่มทำการผลิตชิ้นส่วนสำหรับปั๊มจ่ายน้ำมันสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก
พ.ศ. 2490


- ก่อตั้งบริษัทคันซากิ โคเคียวโกกิ แมนูแฟคเจอริง ในประเทศญี่ปุ่น
- เปิดตัวเครื่องยนต์ขนาดเล็กรุ่น LB และ 2LB สำหรับเรือเดินสมุทร
พ.ศ. 2488
- โรงงานผลิตหลักได้รับความเสียหายอย่างมากในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2
พ.ศ. 2485
- เปิดโรงงานนากาฮามะ ในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2481
- ได้รับการสนับสนุนงานวิจัยเครื่องยนต์สันดาปภายใน โดยสถาบันด้านการคิดค้นและนวัตกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (JIII)
พ.ศ. 2480
- แถลงหลักปรัชญาพื้นฐาน "การประหยัดพลังงานคือการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์"
พ.ศ. 2479

- เปิดโรงงานอามากะซากิ ในประเทศญี่ปุ่น เริ่มทำการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลรุ่น S
พ.ศ. 2476


- วันที่ 23 ธันวาคม เปิดตัวเครื่องยนต์รุ่น HB ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ดีเซลเชิงพาณิชย์ขนาดเล็กเครื่องแรกของโลกที่สามารถใช้งานได้ (5-6 แรงม้า)
พ.ศ. 2473


- เปิดตัวเครื่องยนต์ดีเซลแนวตั้ง 2 จังหวะ (5 แรงม้า)
พ.ศ. 2468
- เปิดตัวเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันสำหรับเรือประมง
พ.ศ. 2464

- ใช้ชื่อแบรนด์ ยันม่าร์
- เปิดตัวเครื่องยนต์แนวนอน
พ.ศ. 2463
- เปิดตัวเครื่องยนต์แนวตั้งที่ใช้น้ำมันสำหรับงานทางการเกษตร
พ.ศ. 2455

- ก่อตั้งบริษัทในชื่อ ยามาโอกะ ฮัตซึโดกิ โคซาคุโช เริ่มทำการผลิตเครื่องยนต์ที่ใช้ก๊าซ